ประกาศฟรี โพส SEO > โปรโมทเพจร้านค้า

ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?

(1/20) > >>

ruataewada:
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

ruataewada:
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

ruataewada:
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

ruataewada:
ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

ruataewada:
**สัตว์เหมาะแก่การหาเงิน**

สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มนุษย์เลี้ยงไว้เพื่อประโยชน์หลายประการ เช่น เป็นแหล่งอาหาร เป็นเพื่อนคู่ใจ หรือเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม ในปัจจุบัน ยังมีสัตว์อีกหลายชนิดที่สามารถนำมาเป็นอาชีพได้ หรือที่เรียกว่า "สัตว์เศรษฐกิจ" ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรหรือผู้เลี้ยงได้อย่างดี

**ปัจจัยในการเลือกสัตว์เศรษฐกิจ**

ในการเลือกสัตว์เศรษฐกิจนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายประการ ดังนี้

* **ความต้องการของตลาด** จะต้องเลือกสัตว์ที่มีความต้องการสูงในตลาด เพื่อที่จะขายผลผลิตได้ง่ายและได้ราคาดี
* **สภาพพื้นที่และภูมิประเทศ** จะต้องเลือกสัตว์ที่ทนต่อสภาพอากาศและสภาพแวดล้อมในพื้นที่นั้น ๆ
* **ความรู้และประสบการณ์ในการเลี้ยง** จะต้องเลือกสัตว์ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการเลี้ยงอยู่บ้าง เพื่อที่จะดูแลสัตว์ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง

**ตัวอย่างสัตว์เศรษฐกิจ**

ตัวอย่างสัตว์เศรษฐกิจที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน ได้แก่

* **สัตว์เลี้ยงสวยงาม** เช่น ปลาสวยงาม นกสวยงาม สัตว์เลื้อยคลานสวยงาม เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจเนื้อ** เช่น วัว หมู ไก่ เป็ด เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจนม** เช่น วัว แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจไข่** เช่น ไก่ เป็ด เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจปีก** เช่น เป็ด ห่าน เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจขน** เช่น แกะ แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจหนัง** เช่น วัว หมู แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจน้ำ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน เป็นต้น

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ**

ในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจนั้น จะต้องคำนึงถึงข้อควรระวังต่าง ๆ ดังนี้

* **ศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ** ก่อนตัดสินใจเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ชนิดนั้น ๆ อย่างละเอียด รวมถึงความต้องการของตลาดและสภาพพื้นที่ เพื่อที่จะประสบความสำเร็จในการเลี้ยง
* **ดูแลสัตว์อย่างเอาใจใส่** สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องมีการดูแลเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เจริญเติบโตและแข็งแรง
* **ป้องกันโรคระบาด** โรคระบาดเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในการเลี้ยงสัตว์ ควรป้องกันโรคระบาดอย่างเข้มงวด เพื่อไม่ให้สัตว์ป่วยหรือตาย

สัตว์เศรษฐกิจเป็นอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรหรือผู้เลี้ยงได้เป็นอย่างดี หากศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ ก็สามารถประสบความสำเร็จในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจและสร้างรายได้ได้อย่างยั่งยืน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม
ตาข่ายถักรั้วตาข่าย
รั้วแรงดึง

นำร่อง

[0] ดัชนีข้อความ

[#] หน้าถัดไป

Go to full version